คำอธิบายรายวิชา

การแก้ปัญหาจากการทำางานหรือชีวิตประจำาวันของแต่ละบุคคลมีขั้นตอนและใช้เวลาที่แตกต่างกัน เพื่อช่วยให้การแก้ปัญหามีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา การวางแผนการแก้ปัญหา การดำาเนินการแก้ปัญหา และการตรวจสอบและประเมินผล กระบวนการแก้ปัญหาเป็นส่วนสำาคัญในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ปัญหาจากการทำางาน หรือปัญหาในชีวิตประจำาวัน การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้โปรแกรม Scratch สามารถนำาไปสร้างโปรแกรม ที่มีการรับค่าข้อมูล ประมวลผลข้อมูล แสดงผลข้อมูล รวมถึงการใช้ตัวดำาเนินการ หรือคำาสั่งที่ใช้สำาหรับการทำางานที่มีทางเลือก และวนซ้ำ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างง่ายได้ โดยนำาความรู้เรื่องชนิดข้อมูล ค่าคงที่และตัวแปร มาเป็นส่วนประกอบในการวิเคราะห์ประเภทของข้อมูลเข้า ข้อมูลออก เพื่อนำามาประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฟังก์ชัน (function) หรือโปรแกรมย่อย (subroutine) เป็นกลุ่มของคำาสั่งที่ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ ผู้ใช้จะนิยามฟังก์ชัน โดยกำาหนดชื่อฟังก์ชัน และคำาสั่งที่ต้องการภายในฟังก์ชันนั้น การตั้งชื่อฟังก์ชันควรตั้งให้เหมาะสมกับการทำางานเพื่อให้ง่ายต่อการทำาความเข้าใจ ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันได้โดยไม่ต้องเขียนชุดคำาสั่งซ้ำา ๆ กันอีก และสามารมนำาไปใช้กับโปรแกรมอื่นที่มีลักษณะคล้ายกันได้อีกด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร ตัวดำาเนินการ คำาสั่ง if-else forever repeatในการแก้ปัญหา
  2. เขียนโปรแกรมที่มีการรับข้อมูลจากผู้ใช้และมีการแสดงผลลัพธ์จากการแก้ปัญหา
  3. สร้างและเรียกใช้งานฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน

ในการสร้างโปรแกรมจากภาษา scartch นั้น นักเรียนจะต้องรู้จักกับบล็อคคำสั่ง ต่าง ๆและนำบล็คคำสั่ง มาวางต่อกันเพื่อสั่งให้โปรแกรมทำงาน สคลิปคำสั่งเหล่านั้นเราเรียนว่าโปรแกรมจะพบว่า มีการทำงานแบบ ทางเลือก และวนซ้ำ มาบ้างแล้วในบทนี้เราจะมาเรียนรู้ถึงการเขียนโปรแกรมที่มีการใช้งานฟังก์ชั่นเพื่อให้สามารถเขียนโปรแกรมแก้ปัญหาที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างเกมเก็บผลไม้

ฟังก์ชั่นย่อย ๆ ที่พบในตัวอย่าง
จากตัวอย่างนี้เมื่อนักเรียน กดที่ปุ๋ม ธงเขียน โปรแกรมจะเริ่มทำการจับเวลา หากเราเครื่อนเม้าส์ไปสัมผัสกับตัวละครผลไม้ จะทำให้ตัวละครผลไม้เปลียนไป ซึงการสร้างเกมนี้อาศัยบล็คคำสั่งในหมวดหมูต่างๆ ทำงานร้อยเรียงกัน โดยมีการทำงานขั้นตอนย่อย ๆ อยู่ 2 ขั้นตอนดังนี้

  1. ฟังก์ชันที่ทำให้ภาพผลไม้ปรากฏบนหน้าจอ
  2. ฟังก์ชันที่ทำให้ภาพผลไม้ปรากฏบนหน้าจอด้วยขนาดและตำแหน่งที่แตกต่างกัน

ตัวอย่างการสร้างเกมตัดผลไม้โดยเพิ่มการนับคะแนนและกำหนดเวลา

ตัวอย่างการสร้าเกมและใช้ฟังก์ชัน

สรุปความรู้เรื่องบล็อค

แบบฝึกหัดที่ 1

แบบฝึกหัดที่ 1

เข้าสู่โปรแกรม Scartch